ความถนัดในการรับรู้ของแต่ละคนไม่เหมือนกัน แต่เราเรียนรู้ได้ เพื่อจะทำให้การสื่อสารของเรามีประสิทธิภาพมากขึ้น
วีดีโออธิบายวิธีการสรรหาโค้ชอย่างเป็นขั้นตอน ตั้งแต่การทำรายชื่อจนถึงระหว่างการโค้ช จากงานสัปดาห์การโค้ชนานาชาติ พค 2566
เกิดภาวะ Burnout เพราะทำงานหนักเกินไป เราจะก้าวข้ามปัญหานี้ได้อย่างไร เราจะหา Work Life Balance ได้ด้วยตัวเองอย่างไร
การเปลี่ยนแปลง (Change) เป็นสัญลักษณ์ว่าเรายังมีลมหายใจและชีวิตยังดำเนินต่อไป แต่ทำไมเราต่อต้านการเปลี่ยนแปลง
เป้าหมายปีใหม่ของเรา มีกี่อย่างที่เราทำสำเร็จ แล้วต้องทำอย่างไรจึงจะเพิ่มความสำเร็จ
ร่างกายเรามีเซลล์ใหม่ทดแทนเซลล์เก่าตลอดเวลา แสดงว่าเราเป็นคนใหม่ตลอดเวลาเช่นกัน แล้วเราต้องทำอะไรบ้างเพื่อเป็นคนแบบที่เราอยากเป็น
“หยุดยาวปีนี้จะนอนเล่นเกมส์ ดูซีรีย์ให้หนำใจเลย” เป็นของขวัญที่ดีที่สุดสำหรับตัวเองหรือยัง?
ผู้นำต้องเตรียมตัวอย่างไรบ้างเพื่อที่จะเท่าทันต่อการเปลี่ยนแปลงในโลกของการทำงาน ปี 2023 โดยเฉพาะอย่างยิ่ง Soft Skills เพื่อส่งเสริมองค์กร
หากคุณต้องไปสัมภาษณ์งาน คุณจะเตรียมตัวอย่างไรเพื่อให้พร้อมที่สุดและประสบความสำเร็จในการสัมภาษณ์งานครั้งนั้น
การทำงานให้สำเร็จต้องใช้อะไร คุณใช้ความสัมพันธ์หรือผลลัพธ์ของงานเป็นตัวตั้ง
คนทำงานเก่งมาถึงจุดที่ทุกปัญหาเขา “เอาอยู่” งานนี้ไม่ท้าทายแล้ว แต่ไม่อยากลาออก ทำอย่างไรดี
หัวข้อยอดฮิตของการโค้ชคือ Work Life Balance ทุกคนอยากได้ อยากใช้ชีวิตที่สมดุล แต่ยังทำไม่ได้จริงสักที
ถ้าคุณต้องเผชิญกับความเครียดอย่างมากในแต่ละวัน ตัวช่วยสำคัญที่คุณต้องการคือ การหายใจ
ความกังวลอาจจะเป็นเรื่องปกติในชีวิตประจำวัน แต่ถ้ากลายเป็นความวิตกกังวล เกิดความเครียดจนไม่สามารถจัดการได้ ก็คงไม่ดีกับสุขภาพกายและใจ
อะไรๆก็ประดังเข้ามา ยุ่งมากก็เครียดมาก ยิ่งเครียดก็ยิ่งพัง ถ้าอยากจะเอาให้อยู่หมัดจะต้องทำยังไงหล่ะ
โค้ชคะ งานก็ยุ่ง ลูกก็เล็ก บางวันทำงานถึงเช้า เสาร์อาทิตย์ก็ต้องทำงาน รู้สึกว่า Burnout ไม่ไหวแล้วค่ะ
เดี๋ยวนี้ลูกโตแล้ว เขาไม่ฟังเราหรอก! พ่อแม่หวังดีนะ แต่ลูกไม่เข้าใจหรอก! คำพูดคุ้นหูเหล่านี้จะคลี่คลายลงหากพ่อแม่มีทักษะการโค้ช
เมื่ออยากปฏิเสธงานที่เข้ามาเพิ่ม แต่ไม่รู้จะบอกอย่างไร จึงนำเรื่องนี้มาคุยกับโค้ช
ถ้าไม่เขียน New Year Resolutions แต่มาลองวิธีใหม่ ทบทวนปัจจุบันเพื่อก้าวต่อไปในอนาคต ดีไหมคะ
หาโอกาสให้ธรรมชาติดูแลเราในช่วงวันหยุดนี้กันค่ะ อยู่หน้าจอคอมพิวเตอร์มานานแล้ว ความเครียดสะสม สุขภาพอ่อนแอ จะดีไหมถ้าเราหาเวลาให้ตัวเองไปอยู่กับธรรมชาติบ้าง ให้ธรรมชาติได้เยียวยาเราบ้าง
Burnout เป็นเหตุให้บุคลากรไม่สามารถทำงานได้เต็มศักยภาพ เมื่อเหนื่อยล้ามากๆเข้า บางคนก็ลาออก
เราไม่ได้ต้องการแค่บุคลากรที่มี IQ สูง และ EQ ดี แต่เรายังต้องการบุคลากรที่ส่งเสริมความแข็งแรงให้องค์กรด้วย
จาก New Normal เป็น Now Normal ที่คุ้นชิน แล้วต่อจากนี้หล่ะ เราได้เตรียมความพร้อมอะไรบ้างเพื่อจะไปต่อหลังยุคโควิด
อะไรเป็นเหตุให้ผลงานของทีมไม่ดี โค้ชจะช่วยให้ผู้นำหาสาเหตุพบได้อย่างไร
การเปลี่ยนแปลงเป็นเรื่องธรรมชาติ จริงหรือ? แล้วเราเปลี่ยนได้ง่ายๆอย่างเป็นธรรมชาติได้ไหม?
Mindset ของผู้นำเป็นตัวกำหนดชะตากรรมขององค์กร หากผู้นำมีชุดความคิดที่สอดคล้องกับการนำพาองค์กรไปสู่วิสัยทัศน์ได้ ก็ย่อมส่งผลในเชิงบวกต่อองค์กรแน่นอน
หัวข้อยอดฮิตของการโค้ช คือ Work Life Balance และ Burnout สาเหตุและการจัดการของแต่ละคนผ่านการสะท้อนของโค้ชให้คำตอบอะไรบ้าง
โค้ชชิ่งสมัยปี 1996 เป็นอย่างไร เขานิยามว่าอะไร คือการสอน การเป็นพี่เลี้ยง หรือความหมายอื่น
ต้องเปลี่ยนแปลงถึงจะรอด ไม่เปลี่ยนก็ไม่ได้ แต่จะเปลี่ยนก็เหนื่อยจัง แล้วจะต้องทำอย่างไร จึงจะเกิดการเปลี่ยนแปลงอย่างแท้จริง
เริ่มจากยุค Change มาถึงยุค Transformation และยังพูดกันทั่วไปว่า “ถ้าไม่ทำจะถูก Disrupt” องค์กรจึงต้องเปลี่ยนเพื่อหนีตาย
ข่าวผู้นำหญิงในหลายประเทศที่สามารถรับมือกับวิกฤติโควิดครั้งนี้ได้ดีมาก จนสำนักข่าวหลายแห่งนำมาทำเป็นสกู๊ปพิเศษ เราจะมาลองวิเคราะห์โดยใช้ Pattern Scanner ดูว่าเราสามารถเรียนรู้ และนำไปปรับใช้กับการพัฒนาผู้นำของเราได้อย่างไรบ้าง
ในที่ทำงานจะมีบรรยากาศแบบเงียบ เห็นด้วย ในห้องประชุม แต่พอออกจากห้องประชุมมาก็มาจับกลุ่มกันคุยว่าเมื่อกี้นี้น่าจะเป็นอย่างนั้นอย่างนี้มากกว่านะครับ อะไรเป็นสาเหตุให้เป็นเช่นนั้นคะ
งานถูกเลื่อนออกไป บางงานถูกยกเลิก นอกจากที่เราจะปรับเปลี่ยนวิธีการทำงานแล้ว ยังมีอะไรอีกบ้างที่เราจะทำได้ในช่วงเวลาวิกฤติแบบนี้ หรือเราจะโค้ชชิ่งตัวเองได้ไหม
คุณคิดว่าคุณเป็นผู้นำตัวเองไหมคะ มีเป้าหมายเป็นของตัวเอง วางแผนพาตัวเองไปสู่เป้าหมายนั้น หรือว่าคุณถูกนำด้วยปัจจัยอื่นๆ
การระเบิดอารมณ์จากคนที่สงบเสงี่ยมเรียบร้อย มักเลวร้ายกว่าที่เราและเขาจะคาดคิดได้ เราจะระวังตัวเองไม่ให้เป็นเช่นนั้นและไม่ให้เป็นเหยื่อของเหตุการณ์แบบนี้ได้อย่างไร
เล่าเรื่องจากงานวิจัย ประสิทธิผลของการโค้ช: คุณลักษณะของโค้ชและผู้รับการโค้ชที่นำไปสู่ความสำเร็จ งานวิจัยของ Sheila M. Boysen สหรัฐอเมริกา ตีพิมพ์ในวารสารนานาชาติ ปรัชญาแห่งการโค้ช
รู้ตัวว่ายังไม่เก่ง ฟังยูทูป อ่านหนังสือ เข้าสัมมนา ฯลฯ ยิ่งนานวันก็ยิ่งคิดว่าเราไม่เก่งเหมือนคนอื่นสักที ความรู้ก็มีเยอะแล้วแต่ทำไมยังทำไม่ได้ หรือว่างานที่ทำอยู่นี้ไม่ใช่สิ่งที่ต้องการ หรือว่าคนรอบข้างแบบนี้ไม่เหมาะกับฉัน แล้วจะทำไงดี
กรอบความคิดที่แตกต่างกันทำให้คนมองเรื่องราวที่เกิดขึ้นไม่เหมือนกัน เรื่องเดียวกันแท้ๆยังเข้าใจต่างกันแล้วจะร่วมมือกันทำสิ่งนั้นให้เป็นจริงได้อย่างไร
บ่อยครั้งที่เรารู้สึกว่าที่ทำไปนั้นยังไม่ดีเลย รางวัลที่ได้มาก็เพราะฟลุค กลัวเหมือนกันว่าจะมีคนรู้ว่าเราไม่เก่งพอกับรางวัลนั้น